-
วิธีสมัครสมาชิก บทเรียน elearning
รายวิชาที่มีอยู่
- อาจารย์: Patharawut Tojeen
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี

การใช้งาน Moodle
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี

การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการระบบเอกสารและผลิตสื่อด้วยเทคโนโลยีบนอุปกรณ์โมบาย Training workshop on document systems and media production using mobile technology วันอังคารที่ 4 มีนาคม 2568 ณ ห้องประชุม 2 ขุนสรรค์ วิทยาลัยการอาชีพอินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี
- อาจารย์: นายปกรณ์ นาวีระ

ปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์นําคมตัดและอุปกรณ์จับยึด ออกแบบอุปกรณ์นําคมตัดและอุปกรณ์จับยึด
Jig andFixture เลือกใช้วัสดุชิ้นส่วนมาตรฐาน ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์นําคมตัด และอุปกรณ์จับยึด อบชุบชิ้นส่วน
วัดตรวจสอบ ประกอบ ทดลองการใช้งาน และแก้ไข บํารุงรักษาอุปกรณ์นําคมตัดและอุปกรณ์จับยึด
บํารุงรักษาเครื่องมือกล ปฏิบัติงานตามหลักความปลอดภัย
- อาจารย์: นายปกรณ์ นาวีระ

ศึกษาหลักการทํางานของคมตัด มุมเครื่องมือตัด สมบัติของวัสดุที่ใช้ในการผลิตเครื่องมือตัดกรรมวิธี
ขึ้นรูปเครื่องมือตัด การอบชุบ การเคลือบผิวแข็ง ชนิดประเภท สมบัติ หน้าที่ของเครื่องมือตัด ออกแบบ
เลือกใช้วัสดุในการผลิตเครื่องมือตัด มีกิจนิสัยในการทํางานอย่างมีระเบียบ ตรงต่อเวลา
- อาจารย์: นายปกรณ์ นาวีระ
- อาจารย์: บัวชมพู เวียงอินทร์
- อาจารย์: ศิริพันธุ์ แก้วมาลา
- อาจารย์: นายประยุทธ์ หลำริ้ว
- อาจารย์: อภิชาติ เพ็งชวด

ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา
ประยุกต์ใช้การวางระบบ กระบวนการทํางาน และประยุกต์ใช้การผลิตแบบ LEAN
จุดประสงค์รายวิชา
1. .เข้าใจเกี่ยวกับกฎกระทรวงการกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานที่ใช้บังคับแกิกิจการหรือสถาน-ประกอบกิจการ
2. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการกระบวนการผลิตแบบ LEAN
3. มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยและปฏิบัติงานด้วยแนวคิดการผลิตแบบ LEAN
4. มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยและปฏิบัติงานด้วยแนวคิดการผลิตแบบ LEAN
สมรรถนะรายวิชา
1. ประมวลความรู้เกี่ยวกับกฏหมายต้างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในสถานประกอบการ
2. ประมวลความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วนบุคคลแบบต่างๆ ตามข้อกําหนด
3. ประมวลความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตแบบ LEAN และการจําแนกของเสีย 8 ประการในกระบวนการ
ผลิตตามข้อกําหนด
4. ประยุกต์ใช้กระบวนการผลิตแบบลีนและความปลอดภั
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับกฎกระทรวงการกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานที่ใช้บังคับแก้กิจการหรือสถานประกอบการกฎด้านคปลอดภัยของสถานประกอบการ ISO 45001 กระบวนการผลิตแบบ LEAN และเครื่องมือที่ใช้ในการกําจัดของเสีย 8 ประการ เกี่ยวกับกฎหมาย มาตรฐาน และข้อกำหนดด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง
- อาจารย์: นายปกรณ์ นาวีระ

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงาน การถอดประกอบ ตรวจสภาพ บำรุงรักษา คลัตช์เกียร์
ข้อต่อ เพลากลาง เฟืองท้าย และเพลาขับล้อ
- อาจารย์: นายอัครา แก้วกันไทย
- อาจารย์: นายนรินท์ คลังนุ่ม
- อาจารย์: วันชัย พุ่มพฤกษ์
- อาจารย์: อำนาจ อยู่รัตน์

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้เครื่องมือพิเศษ ตรวจวัดวิเคราะห์และปรับแต่งอุปกรณ์ของเครื่องยนต์ การตรวจวัดวิเคราะห์กําลังอัด ระบบประจุอากาศ ระบบจุดระเบิด ระบบจ่ายเชื้อเพลิง ระบบหล่อลื่นระบบระบายความร้อน และการวิเคราะห์สภาพไอเสียเพื่อปรับแต่งเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ
- อาจารย์: นายฤทธิพันธ์ เบ้าบุญ
- อาจารย์: นายธนญชัย บุญเพิ่ม

ใช้งานเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ต่อและอ่านค่าที่ได้ด้วยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย และมีความรับผิดชอบ
- อาจารย์: ฐิติรดา มาประเสริฐ
- อาจารย์: ธราดล สุโยธา
- อาจารย์: กฤตนันท์ สันติวงศกร
- อาจารย์: สันติ หาญอาษา
- อาจารย์: นิรันดร์ คงแย้ม

ศึกษาและวิเคราะห์หลักการ ข้อกำหนด ขั้นตอนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานอาชีพอุตสาหกรรม พลังงาน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
- อาจารย์: ฐิติรดา มาประเสริฐ
- อาจารย์: ผู้ดูแลระบบ วก.อินทร์บุรี

ศึกษาและปฏิบัติวิธีการป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า ระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้า
การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การติดตั้งการเดินสายไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า ติดตั้งเดิน
สายไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากำลังด้วยเข็มขัดรัดสาย ท่อร้อยสายไฟ บนผนังไม้และผนังปูน การติดตั้งบริภัณฑ์
ไฟฟ้า งานติดตั้งโคมไฟฟ้า สวิตช์ควบคุม งานติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต โหลดเซ็นเตอร์
เครื่องป้องกันไฟรั่ว งานติดตั้งสายดิน การตรวจสอบบริภัณฑ์ไฟฟ้า ตู้คอนซูมเมอร์ ตู้โหลดเซ็นเตอร์ ระบบสาย
ดิน เครื่องป้องกันไฟรั่ว การติดตั้งระบบสื่อสารในอาคาร งานติดตั้งสายโทรศัพท์ สายวงจรทีวีวงจรปิดภายใน
อาคาร
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นายนรินท์ คลังนุ่ม

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือกล อุปกรณ์ประกอบ กลึงตกร่อง เจาะและกลึงเกลียวสามเหลี่ยม กลึงเรียว กลึงเยื้องศูนย์ กัดผิวราบ กัดบาฉาก กัดร่อง การใช้เครื่องมือตรวจสอบ การบำรุงรักษาเครื่องมือกลและปฏิบัติงานตามหลักความปลอดภัย
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: พิทักษ์ ทรัพย์วัฒนานนท์

- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: สันติ หาญอาษา
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: อภิชาติ เพ็งชวด

- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นายฤทธิพันธ์ เบ้าบุญ

- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นายปกรณ์ นาวีระ

- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: กฤตนันท์ สันติวงศกร
สาระสำคัญ
นิวเมติกส์ เป็นระบบที่ใช้ลมอัดส่งไปตามท่อลม เพื่อเป็นตัวกลางการถ่ายทอดของไหลให้
เป็นพลังงานกลในการขับเคลื่อนอุปกรณ์ซึ่งอุปกรณ์พื้นฐานในระบบนิวเมติกส์ ประกอบด้วย กระบอก
สูบ วาล์วควบคุมทิศทาง วาล์วควบคุม และชุดจ่ายลมอัด ประกอบเป็นวงจรควบคุมการท างานตาม
ลักษณะงานที่ต้องการ
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: วันชัย พุ่มพฤกษ์
หลักสูตรรายวิชา
20101-2105 งานปรับอากาศรถยนต์ 1-3-2
จุดประสงค์รายวิชา
1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องปรับอากาศรถยนต์
2. ถอด ประกอบ และตรวจสภาพชิ้นส่วนเครื่องปรับอากาศรถยนต์
3. บำรุงรักษา ติดตั้งอุปกรณ์ แก้ไขข้อขัดข้อง และประมาณราคาค่าบริการระบบปรับอากาศรถยนต์
4. มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงาน การตรวจสอบ และบำรุงรักษาระบบปรับอากาศรถยนต์
2. ถอด ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของระบบปรับอากาศรถยนต์
3. ตรวจสอบสภาพ และซ่อมส่วนประกอบของระบบปรับอากาศรถยนต์
4. บำรุงรักษาระบบปรับอากาศรถยนต์
5. ติดตั้งอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์
6. ประมาณราคาค่าบริการระบบปรับอากาศรถยนต์
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงาน การถอดประกอบ ตรวจสภาพ ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศรถยนต์ บรรจุน้ำยา หารอยรั่ว เติมน้ำมันหล่อลื่น บริการบำรุงรักษา แก้ไขข้อขัดข้อง และประมาณราคาค่าบริการการใช้สื่อการสอน CAI ในการศึกษาเกี่ยวกับหลักการทำงานของระบบปรับอากาศรถยนต์
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นายประยุทธ์ หลำริ้ว

วิชา งานจักรยานยนต์ รหัส 2101-2102
จุดประสงค์รายวิชา
- เข้าใจหลักการทำงานของรถจักรยานยนต์
- ถอดประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วนของรถจักรยานยนต์
- บำรุงรักษาบริการ แก้ไขข้อขัดข้องของรถจักรยานยนต์และประมาณราคาค่าบริการ
- มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม
สมรรถนะรายวิชา
- แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการตรวจสอบบำรุงรักษาปรับแต่งชิ้นส่วนของรถจักรยานยนต์
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์และระบบต่างๆ ตามคู่มือ
- ตรวจสภาพเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์และระบบต่างๆ ตามคู่มือ
- ถอด-ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ตามคู่มือ
- ถอด-ประกอบชิ้นส่วนระบบต่าง ๆ ของรถจักรยานยนต์ตามคู่มือ
- ประมาณราคาค่าบริการรถจักรยานยนต์
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานการถอดประกอบชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ และระบบของรถจักรยานยนต์ ระบบควบคุมการฉีดเชื้อเพลิงด้วยอิเล็กทรอนิกส์ การใช้เครื่องมือและเครื่องมือพิเศษตรวจสอบชิ้นส่วน ปรับแต่ง การบำรุงรักษา และการประมาณราคาค่าบริการ
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นายธนญชัย บุญเพิ่ม

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับงานทดลอบคุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำ ตรวจสอบอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
งานตรวจสอบไดโอด UJT PUT ทรานซิสเตอร์ เฟต งานตรวจสอบอุปกรณ์ไทรีสเตอร์ งานวัดอุปกรณ์เชื่อมโยง
ทางแสงด้วยมัลติมิเตอร์ งานต่อ ทดสอบ วิเคราะห์และแก้ไขจุดบกพร่องของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยมัลติมิเตอร์
และออสซิลโลสโคป วงจรเรียงกระแสด้วยโดโอด วงจรรักษาระดับแรงดันให้คงที่ วงจรประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์
ไทรีสเตอร์ วงจรประยุกต์ใช้อุปกรณ์เชื่อมโยงทางแสง วงจรกำเนิดสัญญาณ วงจรรวมตั้งเวลาด้วยไอชี วงจรขยาย
ความแตกต่าง วงจรขยายกำลัง วงจรออปแอมป์ การเชื่อมต่อวงจรแอนะล็อกกับวงจรดิจิทัล การออกแบบและ
จัดทำแผ่น PCB
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: อำนาจ อยู่รัตน์

การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมไฟฟ้า
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: ฐิติรดา มาประเสริฐ

ในการศึกษาเกี่ยวกับวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ประกอบด้วยศึกษาเกี่ยวกับชนิด ส่วนประกอบ หลักการทำงาน การบำรุงรักษา และหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับเครื่องมือกลพื้นฐาน การคำนวณค่าความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราการป้อน องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงานลับคมตัด งานกลึง งานเจาะ ตามหลักความปลอดภัย
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: ธราดล สุโยธา

- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: วนิดา บุญมี
- อาจารย์: ผู้ดูแลระบบ วก.อินทร์บุรี
- อาจารย์: เจนจิรา ก้อนจ้าย
- อาจารย์: นาตยา ศรีดา
- อาจารย์: Saisamorn Townoi
- อาจารย์: วรวรรณ พินกฤษณ์
- อาจารย์: นันทพร สมวาส

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของระบบบัญชี การควบคุมภายใน การออกแบบและเลือกใช้เอกสารทางการบัญชีสมุดบัญชี การออกแบบระบบบัญชี วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย และวงจรอื่นที่เกี่ยวข้อง ของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ การใช้ระบบปฏิบัติการ (Windows หรือ Mac OS) การใช้โปรแกรมประมวลผลคำเพื่อจัดทำเอกสารในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมตารางทำการเพื่อการคำนวณในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมการนำเสนอผลงาน หรือการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปอื่น ๆ ตามลักษณะงานอาชีพ การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสืบค้นและสื่อสารข้อมูลสารสนเทศในงานอาชีพ ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรมและความรับผิดชอบในการใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศในงานอาชีพ
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: กิตติญา สิงห์โต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2542 กระบวนการจัดทำบัญชี
ตามวงจรบัญชีของธุรกิจบริการ ธุรกิจซื้อขายสินค้า และธุรกิจอุตสาหกรรม การจดทะเบียนธุรกิจ และ
การจัดการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์รายการค้าจากเอกสาร จัดทำงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: เจนจิรา ก้อนจ้าย

ธุรกิจซื้อขายสินค้าเป็นธุรกิจประเภทซื้อมาขายไป กล่าวคือกิจการจะซื้อสินค้าสำเร็จรูปจากผู้อื่นมาจำหน่าย มิได้ทำการผลิตเองโดยอาจจะขายปลีกหรือขายส่ง ให้กับบริษัท ห้างร้าน และบุคคลธรรมดา
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นันทพร สมวาส

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ การจัดตั้งธุรกิจ การผลิต การบริหาร เงินทุน การเงิน การจัดรูปแบบองค์กร การเขียนแผนธุรกิจ ตามรูปแบบการเขียนแผนธุรกิจการเป็นผู้ประกอบการ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการประกอบธุรกิจ จรรยาบรรณและคุณสมบัติของผู้ประกอบการ
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: นาตยา ศรีดา

ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาดุลยภาพความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ เงินเฟ้อ เงินฝืด และเงินตึงตัว วัฏจักรเศรษฐกิจ ดุลการค้าและดุลการชำระเงิน และการพัฒนาเศรษฐกิจ โครงสร้างและปัญหาเศรษฐกิจของประเทศและแนวทางแก้ไข
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: หทัยวรรณ ร่างใหญ่

ศึกษาลักษณะ ส่วนประกอบ และวิธีการของระบบสารสนเทศทางการบัญชี หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ หลักการวเิคราะห์และออกแบบ
ระบบสารสนเทศทางการบัญชีวงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน ระบบย่อย ของระบบสารสนเทศทางการบัญชีเกี่ยวกับวงจรรายได้วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรระบบการเงิน รายงานทางการเงิน การควบคุมภายใน ทางเดินเอกสารและสารสนเทศทางการบัญชีที่เกี่ยวข้อง
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: วนิดา บุญมี

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ ประเภทและคุณลักษณะของภาพกราฟิก หลักการของภาพกราฟิกแบบ Vector และ Bitmap การสร้าง แก้ไข และตกแต่งภาพโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปกราฟิก และประยุกต์ใช้โปรแกรมกราฟิกในงานอาชีพ
- อาจารย์: Saisamorn Townoi

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการของระบบฐานข้อมูล ชนิด และลักษณะของข้อมูล
2. สามารถปฏิบัติออกแบบ สร้าง และแก้ไขระบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วยความละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ชนิดและลักษณะของฐานข้อมูล
2. ปฏิบัติการออกแบบ สร้าง และแก้ไขระบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของระบบฐานข้อมูล ชนิด และลักษณะของฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล และตารางข้อมูล การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง (Relationship) การสืบค้น แก้ไข และปรับปรุงข้อมูล การสร้างฟอร์มรายงานข้อมูล และการใช้งานแมโคร (Macro)
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: รังษิยา พูลแสวง

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความสำคัญ ประเภทและรูปแบบของระบบ เครือข่าย อุปกรณ์ระบบเครือข่าย มาตรฐานด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การรับ-ส่งข้อมูลบนเครือข่ายโปรโตคอล การใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต การบำรุงรักษาระบบเครือข่าย ระเบียบข้อบังคับด้านความปลอดภัยสำหรับ ธุรกิจดิจิทัล
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: วรวรรณ พินกฤษณ์

20204-2003 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 1-2-2 (Computer mathematics)
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: ปฐมา จันทร์โชติเสถียร
- อาจารย์: ภัทรพล โดดยิ้ม
- อาจารย์: เสกสม ตะปะสา
- อาจารย์: Patharawut Tojeen
- อาจารย์: นารินทร์ สกุณี
- อาจารย์: ภัทรพล โดดยิ้ม

พลศึกษา มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ต้องควบคุมร่างกายและจิตใจในการทำกิจกรรมทางกาย การออกกำลังกาย การเล่นเกม และกีฬา ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีสุขภาพดี มีระเบียบ วินัย อดทน สร้างสรรค์ความสามัคคี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
- อาจารย์: teerapong iemyong
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำเอกสารที่ได้จากการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารจากการฟังการดู และการอ่านสารในงานอาชีพจากสื่อประเภทต่าง ๆ พูดนำเสนอ และจัดทำเอกสาร เขียนข้อมูลในงานอาชีพ จดบันทึกข้อมูล เขียนรายงานการปฏิบัติงาน ประยุกต์ใช้หลักการทางภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพตามสถานการณ์ และมีจรรยาบรรณ ในการใช้ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: Patharawut Tojeen

- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: ภัทรพล โดดยิ้ม

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ หน่วยและการวัดแรงและการเคลื่อนที่ อะตอมและตารางธาตุ สารและการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีชีวภาพ และนาโนเทคโนโลยี
- อาจารย์: นารินทร์ สกุณี
- อาจารย์: ประภาพรรณ สนเอี่ยม
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: ปิยะธิดา จันทสุข

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำขนมไทย การเลือกซื้อ เตรียม ใช้วัตถุดิบ เครื่องมืออุปกรณ์ เทคนิคการทำขนมไทย การจัดตกแต่ง การเก็บรักษา การบรรจุภัณฑ์ การคิดคำนวณต้นทุน และการกำหนดราคาจำหน่าย
- อาจารย์: teerapong iemyong
- อาจารย์: ประภาพรรณ สนเอี่ยม
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี

- อาจารย์: วันชัย พุ่มพฤกษ์
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี

การป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
- อาจารย์: ปฐมา จันทร์โชติเสถียร
- อาจารย์: วรวรรณ พินกฤษณ์
- อาจารย์: รังษิยา พูลแสวง
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี

ครูที่ปรึกษา หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ในฐานะผู้จัดการรายกรณีของ. เด็กหรือเยาวชน โดยเป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นและให้กำลังใจ ตักเตือนในสิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติ.
- อาจารย์: นายอนุชิด อรรถานิธี